logo


รางวัลเกียรติยศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

Mahidol Science Communicator Award

Mahidol Science
Communicator
Award

Mahidol Science Environment & Sustainability Award

Mahidol Science
Environment & Sustainability
Award

Mahidol Science Innovative Educator Award

Mahidol Science
Innovative Educator
Award

Faculty of Science Outstanding Alumni Awards

Mahidol Science
Outstanding Alumni
Awards

Staff Award
Student Award

ผลงานและรางวัลเชิดชูเกียรติ ของบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปีงบประมาณ 2567

(รับรางวัลเดือน ต.ค. 2566 - ก.ย. 2567)

1 รศ. ดร.ดวงกมล เบ้าวัน  ได้รับรางวัลอาจารย์ตัวอย่าง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2566
ระดับรองศาสตราจารย์ - ศาสตราจารย์
2 ผศ. ดร.วิษุวัต สงนวล 

ได้รับรางวัลอาจารย์ตัวอย่าง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2566
ระดับอาจารย์ - ผู้ช่วยศาสตราจารย์

3 รศ. ดร.ศิวพร มีจู สมิธ และนายอัษฎาวุธ ศรีขาว ได้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร ในนาม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
สิทธิบัตร การประดิษฐ์ “กรรมวิธีการผลิตวัสดุกำจัดมลพิษสีย้อมอินทรีย์ด้วยกระบวนการออกซิเดชันแบบเปียกที่สภาวะอุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศปกติ” 
4 ศ.เกียรติคุณ ดร.สถิตย์ สิริสิงห

- ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก "World’s TOP 2% Scientists 2023" ประเภทอ้างอิงเฉพาะปี 2022 สาขา Tropical Medicine

- ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก "World’s TOP 2% Scientists 2023" ประเภทผลกระทบการอ้างอิงตลอดชีพสูงที่สุด สาขา Tropical Medicine

5 ศ. ดร.ทิมโมที เฟลเกล - ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก "World’s TOP 2% Scientists 2023" ประเภทอ้างอิงเฉพาะปี 2022 สาขา Fisheries
- ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก "World’s TOP 2% Scientists 2023" ประเภทผลกระทบการอ้างอิงตลอดชีพสูงที่สุด สาขา Fisheries
6 ศ. ดร.เดวิด จอห์น รูฟโฟโล ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก "World’s TOP 2% Scientists 2023" ประเภทอ้างอิงเฉพาะปี 2022 สาขา Nuclear & Particle Physics
7 ศ. ดร.ศราวุฒิ จิตรภักดี ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก "World’s TOP 2% Scientists 2023" ประเภทอ้างอิงเฉพาะปี 2022 สาขา Biochemistry & Molecular Biology
8 รศ. ดร.ปัทมาภรณ์ กฤตยพงษ์

- ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก "World’s TOP 2% Scientists 2023" ประเภทอ้างอิงเฉพาะปี 2022 สาขา Tropical Medicine

- ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก "World’s TOP 2% Scientists 2023" ประเภทผลกระทบการอ้างอิงตลอดชีพสูงที่สุด สาขา Tropical Medicine

9 รศ. ดร.ชูวงศ์ เอื้อสุขอารี ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก "World’s TOP 2% Scientists 2023" ประเภทอ้างอิงเฉพาะปี 2022 สาขา Biotechnology
10 ผศ. ดร.ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ

- ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก "World’s TOP 2% Scientists 2023" ประเภทอ้างอิงเฉพาะปี 2022 สาขา Electrical & Electronic Engineering

- ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก "World’s TOP 2% Scientists 2023" ประเภทผลกระทบการอ้างอิงตลอดชีพสูงที่สุด สาขา Electrical & Electronic Engineering

11 ศ.เกียรติคุณ ดร.วิสุทธิ์ ใบไม้ ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก "World’s TOP 2% Scientists 2023" ประเภทผลกระทบการอ้างอิงตลอดชีพสูงที่สุด สาขา Tropical Medicine
12 ศ.เกียรติคุณ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก "World’s TOP 2% Scientists 2023" ประเภทผลกระทบการอ้างอิงตลอดชีพสูงที่สุด สาขา Mycology & Parasitology
13 รศ. ดร.ไมเคิล แอนโทนี่ เอเลน ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก "World’s TOP 2% Scientists 2023" ประเภทผลกระทบการอ้างอิงตลอดชีพสูงที่สุด สาขา Psychiatry
14 รศ. ดร.วัฒนา วีรชาติยานุกูล  ได้ผ่านการรับรองมาตรฐานคุณภาพอาจารย์ ตามกรอบมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อการสอนและการสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ ของประเทศอังกฤษ The UK Professional Standards Framework (UKPSF) ระดับ Senior Fellow (SFHEA) ระดับ 3 จากองค์กรระดับชาติในสหราชอาณาจักร The Higher Educaiotn Academy (HEA) หรือ AdvanceHE 
15 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับรางวัลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 MU ITA Awards 2023 มีผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยมหิดล “ผ่าน” ระดับ “A” 
16 รศ. ดร.ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย ได้รับรางวัลข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานมหาวิทยาลัยดีเด่น ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2566
(ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ประเภทวิชาการ ตำแหน่งรองศาสตราจารย์)
17 ผศ. ดร.อารดา ชัยยานุรักษ์กุล ได้รับรางวัลข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานมหาวิทยาลัยดีเด่น ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2566
(ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ประเภทวิชาการ ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ และอาจารย์)
18 ผศ. ดร.ธีรา ฉันทโรจน์ศิริ

- ได้รับรางวัลข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานมหาวิทยาลัยดีเด่น ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2566
(พนักงานมหาวิทยาลัย ประเภทวิชาการ มีระยะเวลาการปฏิบัติงานติดต่อกันไม่เกิน 10 ปี)

- ได้รับคัดเลือกเป็นข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานมหาวิทยาลัยดีเด่นของมหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2566
พนักงานมหาวิทยาลัย ประเภทวิชาการ (มีระยะเวลาการปฏิบัติงานติดต่อกันไม่เกิน 10 ปี)

19 รศ. ดร.ปวีณา ไตรเพิ่ม ได้รับรางวัลข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานมหาวิทยาลัยดีเด่น ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2566
(พนักงานมหาวิทยาลัย ประเภทวิชาการ มีระยะเวลาการปฏิบัติงานติดต่อกันตั้งแต่ 10 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี)
20 ผศ. ดร.โศรยา พรสุวรรณ ได้รับรางวัลข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานมหาวิทยาลัยดีเด่น ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2566
(พนักงานมหาวิทยาลัย ประเภทวิชาการ มีระยะเวลาการปฏิบัติงานติดต่อกันตั้งแต่ 20 ปี ขึ้นไป)
21 นางมณฑนะ มั่นคงวงศ์ศิริ

- ได้รับรางวัลข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานมหาวิทยาลัยดีเด่น ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2566
พนักงานมหาวิทยาลัย ประเภทวิชาชีพ หรือสนับสนุนงานทั่วไป มีระยะเวลาการปฏิบัติงานติดต่อกันไม่เกิน 10 ปี

- ได้รับรางวัลขวัญใจมหาชน (Popular Vote) จากผลงานประเภท Poster presentation - Online (MU-DKM) ในงานมหกรรมคุณภาพ Mahidol Quality Fair 2023
ผลงาน: พัฒนาระบบสารบรรณ สำหรับหน่วยสารบรรณ คณะวิทยาศาสตร์ ด้วย Web Application (แบบ CRUD) หลังสถานการณ์การโจมตีทางไซเบอร์ (Cyber Attack)

22 นางสาวอรอารี ธนิตพิพัฒน์ ได้รับรางวัลข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานมหาวิทยาลัยดีเด่น ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2566
(พนักงานมหาวิทยาลัย ประเภทวิชาชีพ หรือสนับสนุนงานทั่วไป มีระยะเวลาการปฏิบัติงานติดต่อกันตั้งแต่ 10 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี)
23 นายสมบัติ ศรีวรรณงาม ได้รับรางวัลข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานมหาวิทยาลัยดีเด่น ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2566
(พนักงานมหาวิทยาลัย ประเภทวิชาชีพ หรือสนับสนุนงานทั่วไป มีระยะเวลาการปฏิบัติงานติดต่อกันตั้งแต่ 20 ปี ขึ้นไป)
24 นางสาวอัมฤตา เปรื่องกระโทก ได้รับรางวัลขวัญใจมหาชน (Popular Vote) จากผลงานประเภท Poster presentation - Online (MU-DKM) ในงานมหกรรมคุณภาพ Mahidol Quality Fair 2023
ผลงาน: โครงการระบบนำชม "ห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข และ พิพิธภัณฑ์สตางค์ มงคลสุข” คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality: VR)
25 นายอภิชัย อารยะเจริญชัย ได้รับรางวัลขวัญใจมหาชน (Popular Vote) จากผลงานประเภท Poster presentation - Online (MU-DKM) ในงานมหกรรมคุณภาพ Mahidol Quality Fair 2023
ผลงาน: โครงการระบบนำชม "ห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข และ พิพิธภัณฑ์สตางค์ มงคลสุข” คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality: VR)
26 รศ. ดร.ดวงใจ นาคะปรีชา ได้รับรางวัลสมาคมเคมีแห่งประเทศไทยฯ ประจำปี 2566 ประเภทที่ 1 CST Distinguished Chemist Award 2023 (Analytical Chemistry) 
27 รศ. ดร.ธันฐภัทร์ บุญช่วย ได้รับรางวัลสมาคมเคมีแห่งประเทศไทยฯ ประจำปี 2566 ประเภทที่ 9 Merck CST-TYCN for Sustainable Future Award 2023 
28 ศ.เกียรติคุณ ดร.วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด (อาจารย์เกษียณ) ได้รับรางวัลมหิดลทยากร ประจำปี 2566 จาก สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์
29 ศ.เกียรติคุณ ดร.ชัชนาถ เทพธรานนท์ (อาจารย์เกษียณ) ได้รับรางวัลมหิดลทยากร ประจำปี 2566 จาก สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์
30 รศ. ดร.ดรุณี สู้รักรัมย์ ได้รับรางวัล Thieme Chemistry Journals Award โดยได้รับการคัดเลือกโดยคณะบรรณาธิการ (Editorial Board Members) ของวารสาร SYNTHESIS SYNLETT และ SYNFACTS
31 ศ. ดร.ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์  ได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น 60 ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาคการศึกษาและวิจัย  
32 รศ. ดร.เภสัชกรหญิงจุฑามาศ สัตยวิวัฒน์ และคณะ ได้รับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2567 จาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
รางวัลผลงานวิจัย ระดับดีมาก (สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช)
จากผลงานวิจัยเรื่อง "ฟ้าทะลายโจร : จากงานวิจัยพื้นฐานสู่การประยุกต์ใช้"
33 ผศ. ดร.ศุภฤกษ์ บวรภิญโญ (ผู้ร่วมทีมวิจัย) ได้รับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2567 จาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
รางวัลผลงานวิจัย ระดับดีมาก (สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์)
ผู้ร่วมทีมวิจัยเรื่อง "การคัดกรองและทดสอบหาตัวยาต้านมะเร็งที่มีประสิทธิภาพสูง และเป็นพิษต่ำสำหรับผู้ป่วยมะเร็งจอประสาทตาในเด็ก"
34 ศ.เกียรติคุณ ดร.ศกรณ์ มงคลสุข (ผู้ร่วมทีมวิจัย) ได้รับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2567 จาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
รางวัลผลงานวิจัย ระดับดี (สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช)
ผู้ร่วมทีมวิจัยเรื่อง "ระบบการเตือนภัยและคาดการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 ด้วยการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนของเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ในน้ำเสียชุมชน"
35 รศ. ดร.ดวงใจ นาคะปรีชา (ผู้ร่วมทีมวิจัย) ได้รับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2567 จาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
รางวัลผลงานวิจัย ระดับดี (สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์)
ผู้ร่วมทีมวิจัยเรื่อง "นาโนคอมโพลิตชนิดใหม่ที่มีพอลิเมอร์ที่มีรอยพิมพ์ประทับโมเลกุลสำหรับการตรวจวัดสารชี้วัดทางชีวภาพที่สำคัญ แบบจำเพาะเจาะจงและสภาพไวสูงด้วยเทคนิคไฟฟ้าเคมี"
36 ผศ. ดร.ธนากร โอสถจันทร์ (ผู้ร่วมทีมวิจัย) ได้รับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2567 จาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
รางวัลผลงานวิจัย ระดับดี (สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์)
ผู้ร่วมทีมวิจัยเรื่อง "การพัฒนาเส้นด้ายนำไฟฟ้าสำหรับประยุกต์ใช้งานเป็นเซนเซอร์และอุปกรณ์ทำความร้อนแบบสวมใส่"
37 ดร.ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ และคณะ ได้รับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2567 จาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
รางวัลผลงานประดิษฐ์ ระดับดี (สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์)
จากผลงานประดิษฐ์เรื่อง "เทคโนโลยีตรวจวัดกลิ่นแบบดิจิทัลสำหรับการวิเคราะห์คุณภาพในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม"
38 ผศ. ดร.สัญญพงศ์ เพชรร่มโพธิ์ ได้รับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2567 จาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดี (สาขาเศรษฐศาสตร์)
จากวิทยานิพนธ์เรื่อง "วิธีการหาค่าที่เหมาะสมที่สุดสำหรับปัญหาที่มีหลายวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการจัดการรายการสินทรัพย์หลากประเภท"
39 ดร.เขตภากร ชาครเวท ได้รับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2567 จาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดี (สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์)
จากวิทยานิพนธ์เรื่อง "ผลของการแลกเปลี่ยนแม่เหล็กทางตรงและอะตอมหนักต่อการผ่อนคลายทางแม่เหล็กของแม่เหล็กโมเลกุลเดี่ยวโลหะทรานซิชั่น"
40 รศ. ดร.ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย 

- ได้รับรางวัล Outstanding Achievement จากMalaysian Invention and Design Society (MINDS) จากผลงาน PiLeaf EcoLeather
ในมหกรรมประกวดสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ IPITEx 2024 งานวันนักประดิษฐ์ ประจำปี 2567 (Thailand Inventors' Day 2024)

- ได้รับรางวัล Gold Prize จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จากผลงาน PiLeaf EcoLeather
ในมหกรรมประกวดสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ IPITEx 2024 งานวันนักประดิษฐ์ ประจำปี 2567 (Thailand Inventors' Day 2024)

41 รศ. ดร.พงศกร กาญจนบุษย์ ได้รับรางวัล Mahidol University Researchers of the Year 2024 High Impact Researcher in Science and Technology จากมหาวิทยาลัยมหิดล
42 ศ. ดร.มานพ สุพรรณธริกา ได้รับรางวัล Mahidol University Researchers of the Year 2024 High Impact Researcher in Science and Technology จากมหาวิทยาลัยมหิดล
43 รศ. ดร.ภากร เอี้ยวสกุล  ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขัน "กีฬาลีลาศ" จำนวน 6 เหรียญ ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
44 ผศ. ดร.นฤพัฒน์ หงษ์ดิลกกุล ได้รับ 4 เหรียญทอง (เดี่ยว) และ 2 เหรียญทองแดง (ทีม) จากการแข่งว่ายน้ำ ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
45 ดร.สุทธิชัย บุญประสพ  ได้รับ 2 เหรียญเงิน (เดี่ยว) และ 2 เหรียญทองแดง (ทีม) จากการแข่งว่ายน้ำ ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
46 รศ. ดร.เทพมนัส บุปผาอินทร์ 

- ได้รับ 1 เหรียญเงิน (เดี่ยว) และ 2 เหรียญทองแดง (ทีม) จากการแข่งว่ายน้ำ ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567

- ได้รับ 1 เหรียญทองแดง จากการแข่งขันวิ่ง 1,500 เมตร ประเภทชาย (รุ่นอายุ 50 – 54 ปี)

47 นายสุดที่รัก ชูเจริญ  ได้รับ 2 เหรียญทองแดง (ทีม) จากการแข่งว่ายน้ำ ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
48 ผศ. ดร.สัญญพงศ์ เพชรร่มโพธิ์ ได้รับ 1 เหรียญทอง จากการแข่งขันกอล์ฟ (แต้มต่อ 31 - 36) ประเภทไม่จำกัดชายหญิง ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
49 นายหาญณรงค์ จันทเลิศ
นายสวาท โสวพันธ์
นายนริศ เหลี่ยมกำแหง
นายรัฐพล เสริมสุข
นายชัชวาล แสงดิษฐ์ 
ได้รับ 1 เหรียญทอง จาการแข่งขันเซปักตะกร้อ ประเภททีมเดี่ยวชาย (ดิวิชั่น 2) ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
50 นายพิมล จำนงค์ ได้รับ 1 เหรียญทอง จากการแข่งขันขว้างจักร ประเภทชาย (รุ่นอายุ 50 – 54 ปี) ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
51 นางสาวสิริรัชช์กร เสถียรสถาพร ได้รับ 1 เหรียญทอง จากการแข่งขันวิ่งระยะ 100 เมตร ประเภทหญิง (รุ่นอายุไม่เกิน 29 ปี) ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
52 นายกอบโชค มูลทองย้อย ได้รับ 1 เหรียญทองแดง จากการแข่งขันเดินทน 3,000 เมตร ประเภทชาย (รุ่นอายุ 50 – 54 ปี) ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
53 นางสาวชินรัตน์ ลาภพูลธนะอนันต์
นางสาวอุบล โพธิ์อำพร 
ได้รับ 1 เหรียญทองแดง จากการแข่งขันจูงกันรัน ประเภทหญิงคู่ (รุ่นอายุ 40 – 44 ปี) ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
54 รศ. ดร.วัฒนา วีรชาติยานุกูล
รศ. ดร.สัณหภาส สุดวิลัย
ได้รับ 1 เหรียญทองแดง จากการแข่งขันแบดมินตัน ประเภทชายคู่ (รุ่นอายุ 45 ปีขึ้นไป ) ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
55 นางสาวนิรมล สมจิตร
นางสาวอรวรรณ ไวทยะสิน
ได้รับ 1 เหรียญทองแดง จากการแข่งขันแบดมินตัน ประเภทหญิงคู่ (มือใหม่) ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
56 นางสาวรัชติมา บุญคุ้มครอง
นางสาวปิยธิดา เลิศช่ำชองกุล 
ได้รับ 1 เหรียญทองแดง จากการแข่งขันแบดมินตัน ประเภทหญิงคู่ (มือใหม่) ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
57 นางสาวกฤษดาพรรณ ตากกระโทก ได้รับ 1 เหรียญทองแดงจากการแข่งขันครอสเวิร์ด ประเภทบุคคลหญิง ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
58 นางสาวน้องนุช ประสมคำ ได้รับ 1 เหรียญทองแดง จากการแข่งขันเทเบิลเทนนิส ประเภทหญิงเดี่ยว (รุ่นอายุ 45 ปีขึ้นไป) ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567
59 นายสมนึก กู๋ทะ  ได้รับ 1 เหรียญทองแดง จากการแข่งขันสนุกเกอร์และบิลเลียด ประเภทชายเดี่ยว (รุ่นอายุ 50 ปีขึ้นไป) ในงาน "มหิดลเกมส์" ประจำปี 2567

 

ผลงานและรางวัลเชิดชูเกียรติ ประจำปี 2552-2566
... รายละเอียดเพิ่มเติม ...

ผลงานและรางวัลเชิดชูเกียรติ ประจำปี 2540-2551
... รายละเอียดเพิ่มเติม ...

 

รางวัลหน้าบ้านน่ามอง

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณ โดยได้รับเลือกให้เป็น สถานศึกษาน่ามอง ตามโครงการ “หน้าบ้านน่ามอง” ของกรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2543

และใน พ.ศ. 2551 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับพระราชทานรางวัล "พฤกษนครา เหรียญเชิดชูเกียรติ” ตามโครงการแมกไม้มิ่งเมือง" ตามแนวพระราชเสาวนีย์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ระดับหน้าบ้านน่ามอง (ประเภทมหาวิทยาลัยในสวน) ประจำปี 2551 โดยเป็นที่ 1 ของเขตราชเทวี (ประเภทสถานที่ราชการ – มหาวิทยาลัย) ตามโครงการ “แมกไม้มิ่งเมือง” ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีวัตถุประสงค์ส่งเสริมให้ประชาชน หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ได้ปลูกบำรุงรักษาต้นไม้ และประดับตกแต่งต้นไม้หน้าอาคารบ้านเรือนของตนให้สวยงาม

เหรียญดุษฏีมาลา เข็มศิลปวิทยา

อาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 11 ท่าน ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา ซึ่งเป็นเหรียญซึ่งพระมหากษัตริย์จะได้พระราชทานเพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติแก่บุคคลซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในทางศิลปวิทยา อันได้แสดงให้ประจักษ์เป็นพิเศษว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อประเทศชาติ


นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น

 

อาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 13 ท่าน ได้รับรางวัล "นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น"ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์

... รายละเอียด


คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการประเมินคุณภาพผลงาน วิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของ สถาบันอุดมศึกษา ในประเทศไทย ประจำปี 2552 จาก
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ให้อยู่ในระดับดีเยี่ยม 5 สาขา
คือ เคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์) พรีคลีนิก (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์) และเทคโนโลยีชีวภาพ (กลุ่มสาขาเทคโนโลยี)

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการประเมินคุณภาพผลงาน วิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของ สถาบันอุดมศึกษา ในประเทศไทย ประจำปี 2554 จาก
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ให้อยู่ในระดับดีเยี่ยม 3 สาขา
คือ เทคโนโลยีชีวภาพ (กลุ่มสาขาเทคโนโลยี), ฟิสิกส์ (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ) และพรีคลินิก (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ)

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการประเมินคุณภาพผลงาน วิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของ สถาบันอุดมศึกษา ในประเทศไทย ประจำปี 2557 จาก
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ให้อยู่ในระดับดีเยี่ยม (TRF Index 4.5-4.9) 5 สาขา
คือ เทคโนโลยีชีวภาพ (กลุ่มสาขาเทคโนโลยี), ชีววิทยา (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ), เคมี (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ), ชีวเคมี (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ) และพรีคลินิก (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ)

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการประเมินคุณภาพผลงาน วิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของ สถาบันอุดมศึกษา ในประเทศไทย ประจำปี 2560 จาก
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ให้อยู่ในระดับดีมาก (TRF Index 4.0-4.9) 10 สาขา
คือ เทคโนโลยีชีวภาพ (กลุ่มสาขาเทคโนโลยี), วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุ (กลุ่มสาขาเทคโนโลยี), หน่วยสหสาขาวิชา (กลุ่มสาขาเทคโนโลยี), ชีววิทยา (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ), เคมี (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ), ฟิสิกส์ (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ), คณิตศาสตร์ (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ), ชีวเคมี (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ), จุลชีววิทยา (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ), และพรีคลินิก (กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ)

TRF awardTRF logo

คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลเว็บไซต์มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University Web Contest)

MU logo

 

หอเกียรติยศนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ของคณะวิทยาศาสตร์

หอเกียรติยศอาจารย์ดีเด่น ของคณะวิทยาศาสตร์

Download "เส้นทางรางวัลเกียรติยศ ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2527-2549"