logoSC

Mahidol Science Sustainable Development Goals (SDGs)

เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มุ่งมั่นส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน มอบรางวัล Mahidol Science Innovative Educator Award 2022 พร้อมกับรางวัล Mahidol Science Environment & Sustainability Award 2022 ยกย่องผู้ใช้วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงในแวดวงการศึกษาและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในงานรำลึกครบรอบ 103 ปี ชาตกาล ศาสตราจารย์ ดร.สตางค์ มงคลสุข

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดบรรยายพิเศษ Mahidol Science Research Forum “Development of metabolic engineering strategies for the production of natural products” พร้อมเปิดห้อง Lab แลกเปลี่ยนประสบการณ์การวิจัยกับผู้เชี่ยวชาญด้านชีววิทยาสังเคราะห์และวิศวกรรมเมตาบอลิซึม

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดบรรยายพิเศษ Mahidol Science Research Forum “ความร่วมมือในการพัฒนายาจากสมุนไพร มหาวิทยาลัยมหิดลและมูลนิธิกสิกรไทย” แนะโอกาสคว้าทุนวิจัยจากการค้นหาและเพิ่มมูลค่าสมุนไพรไทยสู่ตลาด Herbal Medicines ในระดับสากล

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จับมือ Agilent Technologies ยกระดับการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดงานนิทรรศการ SciEx2022 เปิดโอกาสนักศึกษา ป.ตรี โชว์ศักยภาพและพัฒนาความสามารถเชิงวิชาการในระดับสากล

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมเปิดตัว Startup หน้าใหม่ในโครงการ SPACE-F Batch 3 จับมือพันธมิตรขับเคลื่อนนวัตกรรม FoodTech ระดับโลก

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดบ้านพร้อมสนับสนุน SPACE–F Batch 3

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ลงนามบันทึกข้อตกลงร่วมมือกับ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

16th International Online Mini-Symposium of the Protein Society of Thailand

การพัฒนาวัสดุเพอรอฟสไกต์แบบไร้สารตะกั่วเพื่อใช้เป็นวัสดุพลังงานหรือเซนเซอร์ทางการแพทย์

ชุดตรวจ COVID-19

สารต้าน C0VID-19

การสำรวจและประเมินศักยภาพของแหล่งกักเก็บความร้อนใต้พิภพ จากการสำรวจด้วยวิธีแมกนีโตเทลลูริก ณ น้ำพุร้อนแม่จัน จังหวัดเชียงราย

การพัฒนาวิธีตรวจไวรัส Scale Drop Disease Virus (SDDV) และ Lates calcarifer herpes virus (LCHV) ซึ่งก่อโรคในปลากะพงขาว

เทคโนโลยีการตรวจโรคกุ้งและปลาอัจฉริยะ โดยศึกษาโรคไวรัสเมกะโลไซติไวรัสชนิดไอเอสเคเอ็นวีซึ่งเป็นภัยแฝงก่อโรคในปลานิลและปลากะพงขาว เพื่อนำไปสู่การพัฒนาชุดตรวจโรคและการป้องกันโรค

การพัฒนาเทคโนโลยีสาหร่ายเซลล์เดียวเพื่อผลิตอาร์เอ็นเอสายคู่ในการใช้ควบคุมโรคกุ้งอย่างยั่งยืน

กระบวนการผลิตโซล่าเซลล์ชนิดเพอร์รอฟสไกต์แบบหลายชั้นทีละชั้นที่ควบคุมได้เป็นครั้งแรกของโลก ที่มีประสิทธิภาพและความทนทานความชื้นสูง